Advertisement
keymasterviriya1150

Peem

Nov 9th, 2016
384
0
Never
Not a member of Pastebin yet? Sign Up, it unlocks many cool features!
HTML 38.81 KB | None | 0 0
  1. <!DOCTYPE html>
  2.  
  3. <html>
  4. <head>
  5. <title>Page Titles</title>
  6.  
  7. </head>
  8. <body>
  9.  
  10. <p>
  11. <CENTER><style type="text/css"> BODY{ background:url("http://image.free.in.th/x/i/iv/1182317153.gif"); background-attachment:fixed; } </style>
  12.  
  13. <h2 style="background-color:#FF99CC;color:white"><font size = "20"><marquee direction="left">ระบบสุริยะ</marquee></font></CENTER>
  14. </p>
  15.  
  16. <CENTER><p>
  17. <font size = "5">วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม</font></p></CENTER>
  18. <CENTER><p>
  19. <font size = "5">1.นักเรียนสามารถอธิบายส่วนประกอบต่างๆของระบบสุริยะได้พอสังเขป</font></p></CENTER>
  20. <CENTER><p>
  21. <font size = "5">2.เมื่อให้ข้อมูลทางกายภาพของระบบสุริยะไป นักเรียนสามารถวิเคราะห์และเปรียบเทียบข้อมูลเบื้องต้นได้</font></p></CENTER>
  22. <CENTER><p>
  23. <font size = "5">3.นักเรียนสามารถสร้างแบบจำลองระบบสุริยะจากข้อมูลและอุปกรณ์ที่เตรียมไว้ได้</font></p></CENTER>
  24. <CENTER><p>
  25. <font size = "5">4.นักเรียนสามารถอธิบายถึงการโคจรของดาวในระบบสุริยะ ได้พอสังเขป</font></p></CENTER>
  26.  
  27.  
  28. <CENTER><h2 style="background-color:#00FFFF">
  29. คำถามก่อนเรียน
  30. </h2></CENTER>
  31. <CENTER><p><font color = "0033FF"><font size = "5"> 1. ดาวฤกษ์บนระบบสุริยะมีกี่ดวง </font></font></p></CENTER>
  32. <CENTER><p><font size = "5">
  33. <form name="quiz">
  34.   <input type="radio" name="q1" value="1"> ก.1
  35.   <input type="radio" name="q1" value="2"> ข.4
  36.   <input type="radio" name="q1" value="3"> ค.5
  37.   <input type="radio" name="q1" value="4"> ง.8
  38. </CENTER>
  39. <CENTER><p><font color = "0033FF"><font size = "5">2.ดาวเคราะห์ที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในระบบสุริยะคือข้อใด</font></font></p></CENTER>
  40. <CENTER><p><font size = "5">    </font></p></h2>
  41.  
  42.   <input type="radio" name="q2" value="1"> ก. ดาวศุกร์
  43.   <input type="radio" name="q2" value="2"> ข. ดาวเสาร์
  44.   <input type="radio" name="q2" value="3"> ค. ดาวพฤหัสบดี
  45.   <input type="radio" name="q2" value="4"> ง.ดาวเนปจูน
  46.  
  47. </CENTER>
  48. <CENTER><p><font color = "0033FF"><font size = "5">3.ดาวเคราะห์ในระบบสุริยะมีกี่ดวง</font></font></p></CENTER>
  49. <CENTER><p><font size = "5">      </font></p></h2>
  50.  
  51.   <input type="radio" name="q3" value="1"> ก. 5
  52.   <input type="radio" name="q3" value="2"> ข. 9
  53.   <input type="radio" name="q3" value="3"> ค. 1
  54.   <input type="radio" name="q3" value="4"> ง. 8
  55.  
  56. </CENTER>
  57. <CENTER><p><font color = "0033FF"><font size = "5">4. ดาวเคราะห์ที่โดนตัดออกจากระบบสุริยะให้เป็นดาวเคราะห์แคระคือข้อใด</font></font></p></CENTER>
  58. <CENTER><p><font size = "5">   </font></p>
  59.  
  60.   <input type="radio" name="q4" value="1"> ก. พูลโต
  61.   <input type="radio" name="q4" value="2"> ข. เนปจูน
  62.   <input type="radio" name="q4" value="3"> ค. ดาวเสาร์
  63.   <input type="radio" name="q4" value="4"> ง. ดาวหาง
  64.  
  65. </CENTER>
  66. <CENTER><p><font color = "0033FF"><font size = "5">5. ดาวเคราะห์ที่มีขนาดเล็กที่สุดในระบบสุริยะคือข้อใด</font></font></p></CENTER>
  67. <CENTER><p><font size = "5">   </font></p>
  68.  
  69.   <input type="radio" name="q5" value="1"> ก. ดาวพลูโต
  70.   <input type="radio" name="q5" value="2">  ข. ดาวพุธ
  71.   <input type="radio" name="q5" value="3"> ค. ดาวยูเรนัส ์
  72.   <input type="radio" name="q5" value="4"> ง. ดาวเนปจูน
  73.  
  74. </CENTER>
  75. <CENTER><p><font color = "0033FF"><font size = "5">6. ข้อใดคือดาวเคราะห์ทั้งหมด</font></font></p></CENTER>
  76. <CENTER><p><font size = "5"></font></p>
  77.  
  78.   <input type="radio" name="q6" value="1"> ก. ดาวเนปจูน ดาวเสาร์ ดาวพฤหัสบดี ดาวพุธ
  79.   <input type="radio" name="q6" value="2">  ข. ดาวพูลโต ดาวเสาร์ ดาวพุธ ดวงอาทิตย์
  80.   <input type="radio" name="q6" value="3"> ค. ดาวศุกร์ ดวงอาทิตย์ ดาวเนปจูน ดาวพูลโต
  81.   <input type="radio" name="q6" value="4"> ง. ดาวศุกร์ ดาวพูลโต ดาวเนปจูน ดาวพฤหัสบดี
  82.  
  83. </CENTER>
  84. <CENTER><p><font color = "0033FF"><font size = "5">7. ดาวเคราะห์ใดได้ชื่อว่า “ดาวมฤตยู”</font></font></p></CENTER>
  85. <CENTER><p><font size = "5"></font></p>
  86.  
  87.     <input type="radio" name="q7" value="1">ก. ยูเรนัส  
  88.     <input type="radio" name="q7" value="2">ข. ดาวเสาร์
  89.     <input type="radio" name="q7" value="3">ค. ดาวศุกร์  
  90.     <input type="radio" name="q7" value="4">ง. ดาวเนปจูน
  91.  
  92. </CENTER>
  93. <CENTER><p><font color = "0033FF"><font size = "5">8. ดาวเคราะห์ที่มีวงแหวน คือดาวอะไร</font></font></p></CENTER>
  94. <CENTER><p><font size = "5"></font></p>
  95.  
  96.     <input type="radio" name="q8" value="1">ก. ดวงอาทิตย์
  97.     <input type="radio" name="q8" value="2">ข. ดาวเสาร์
  98.     <input type="radio" name="q8" value="3">ค. ดาวพูลโต
  99.     <input type="radio" name="q8" value="4">ง. ดาวศุกร์
  100.  
  101. </CENTER>
  102. <CENTER><p><font color = "0033FF"><font size = "5">9. ข้อใดคือดาวเคราะห์ที่มีดวงจันทร์บริวารมากที่สุด</font></font></p></CENTER>
  103. <CENTER><p><font size = "5"></font></p>
  104.  
  105.     <input type="radio" name="q9" value="1">ก. ดาวพฤหัสบดี
  106.     <input type="radio" name="q9" value="2">ข.ดาวศุกร์
  107.     <input type="radio" name="q9" value="3">ค. ดวงอาทิตย์
  108.     <input type="radio" name="q9" value="4">ง.ดาวพุธ
  109.  
  110. </CENTER>
  111. <CENTER><p><font color = "0033FF"><font size = "5">10.ดาวใดเป็น ศูนย์กลางวงโคจรของระบบสุริยะ </font></font></p></CENTER>
  112. <CENTER><p><font size = "5"></font></p>
  113.  
  114.     <input type="radio" name="q10" value="1">ก. ดาวศุกร์
  115.     <input type="radio" name="q10" value="2">ข. ดวงอาทิตย์
  116.     <input type="radio" name="q10" value="3">ค. ดาวพุธ
  117.     <input type="radio" name="q10" value="4"> ง. ดาวหาง
  118.    
  119. </CENTER>
  120. <CENTER><p><font color = "0033FF"><font size = "5">11.การโคจรรอบดวงอาทิตย์ของดาวต่างๆเกิดจากแรงที่มีชื่อว่าอะไร</font></font></p></CENTER>
  121. <CENTER><p><font size = "5"></font></p>
  122.  
  123.     <input type="radio" name="q11" value="1">ก.แรงแม่เหล็ก
  124.     <input type="radio" name="q11" value="2">ข.แรงโน้มถ่วง
  125.     <input type="radio" name="q11" value="3">ค.แรงดันอากาศ
  126.     <input type="radio" name="q11" value="4">ง.แรงดันน้ำ
  127.    
  128. </CENTER>
  129. <CENTER><p><font color = "0033FF"><font size = "5">12.ลักษณะการโคจรของดาวเคราะห์ในระบบสุริยะมีลักษณะเป็นอย่างไร</font></font></p></CENTER>
  130. <CENTER><p><font size = "5">
  131.  
  132. <input type="radio" name="q12" value="1">ก.วงรี
  133. <input type="radio" name="q12" value="2">ข.สี่เหลี่ยม
  134.     <input type="radio" name="q12" value="3">ค.วงกลม
  135.     <input type="radio" name="q12" value="4">ง.สามเหลี่ยม
  136.  
  137. </CENTER>
  138. <CENTER><p><font color = "0033FF"><font size = "5">13.ดาวดวงใดมีลักษณะการโคจรที่ต่างจากพวก</font></font></p></CENTER>
  139. <CENTER><p><font size = "5">
  140.     <input type="radio" name="q13" value="1">ก.ดาวเสาร์
  141.     <input type="radio" name="q13" value="2">ข.ดาวโลก
  142.     <input type="radio" name="q13" value="3"> ค.ดาวหาง
  143.     <input type="radio" name="q13" value="4">ง.ดาวพุธ
  144.    
  145. <br><br><input type="button" value="cheaking anser" onClick="getScore(this.form)">
  146. <input type="reset" value="reset"> </p>
  147. <p> Score= <strong><input class="bgclr" type="text" size="5" name="percentage" disabled></strong><br><br>
  148.  
  149.  
  150. <CENTER><p>
  151. <h2 style="background-color:#993399"><font size = "7">ระบบสุริยะ (Solar system)</font></h2></p></CENTER>
  152. <CENTER><font size = "5"><b><u>วัตถุในระบบสุริยะ ประกอบด้วย ดวงอาทิตย์เป็นดาวฤกษ์อยู่ตรงศูนย์กลางของระบบ มีดาวเคราะห์และวัตถุขนาดเล็ก เช่น ดาวเคราะห์แคระ ดาวเคราะห์น้อย ดาวหาง เป็นบริวารโคจรล้อมรอบ  ดาวเคราะห์บางดวงมีดวงจันทร์บริวารโคจรล้อมรอบ </u></b></font></CENTER>
  153.  
  154. <CENTER><IMG SRC="http://primaryscience.ipst.ac.th/wp-content/uploads/sites/22/2015/06/%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%9A%E0%B8%9A%E0%B8%AA%E0%B8%B8%E0%B8%A3%E0%B8%B4%E0%B8%A2%E0%B8%B0.jpg" VSPACE=20></CENTER>
  155.  
  156. <CENTER><p><font size = "5"><b><u>ดาวฤกษ์ Star</u> ดาวที่เรามองเห็นบนฟ้าส่วนใหญ่เป็นดาวฤกษ์ ดาวฤกษ์เป็นก้อนแก๊สร้อนขนาดใหญ่ มีองค์ประกอบส่วนใหญ่เป็น ธาตุไฮโดรเจน ดาวฤกษ์ทุกดวงมีความเหมือนกัน คือ มีพลังงานในตัวเองและเป็นแหล่งกำเนิดธาตุต่างๆ เช่น ธาตุฮีเลียม ลิเทียม เบริลเลียม ส่วน ธาตุที่มีนิวเคลียสขนาดใหญ่จะเกิดจากดาวฤกษ์ที่มีขนาดใหญ่กว่าดวงอาทิตย์มากๆเท่านั้น
  157.  แม้จะมีความเหมือนกันในเรื่องดังกล่าว แต่ดาวฤกษ์ยังมีความแตกต่างกันในเรื่องต่อไปนี้ คือ มวล อุณหภูมิผิวหรือสีผิวหรืออายุ องค์ประกอบทางเคมี ขนาด ระยะห่าง ความสว่างและระบบดาว รวมทั้งวิวัฒนาการ</b></font></p></CENTER>
  158. <CENTER><IMG SRC="https://i.ytimg.com/vi/FXT5KaNTCTU/hqdefault.jpg" VSPACE=20></CENTER>
  159.  
  160. <CENTER><p><font size = "5"><b><u>ดวงอาทิตย์ (Sun)</u> คือ ดาวฤกษ์ซึ่งมีมวลร้อยละ 99 ของระบบสุริยะ จึงทำให้อวกาศโค้งเกิดเป็นศูนย์กลางของแรงโน้มถ่วง โดยมีดาวเคราะห์และบริวารทั้งหลายโคจรล้อมรอบ มีองค์ประกอบหลักเป็นไฮโดรเจนซึ่งเป็นอยู่ในสถานะพลาสมา จากการที่ดวงอาทิตย์มีเฉพาะส่วนที่เป็นพลาสมา ไม่มีส่วนที่เป็นของแข็ง ทำให้อัตราเร็วของการหมุนรอบตัวเองในแต่ละส่วนมีความต่างกัน
  161.  เช่นที่เส้นศูนย์สูตรจะหมุนเร็วกว่าที่ขั้ว ที่เส้นศูนย์สูตรของดวงอาทิตย์มีคาบการหมุนรอบตัวเอง 25 วัน ส่วนที่ขั้วมีคาบ 35 วัน แต่เมื่อสังเกตบนโลกแล้วจะพบว่าคาบของการหมุนรอบตัวเองที่เส้นศูนย์สูตรของดวงอาทิตย์คือ 28 วัน</b></font></p></CENTER>
  162. <CENTER><IMG SRC="https://upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/thumb/b/b4/The_Sun_by_the_Atmospheric_Imaging_Assembly_of_NASA's_Solar_Dynamics_Observatory_-_20100819.jpg/270px-The_Sun_by_the_Atmospheric_Imaging_Assembly_of_NASA's_Solar_Dynamics_Observatory_-_20100819.jpg" VSPACE=20></CENTER>
  163.  
  164. <CENTER><p><font size = "5"><b><u>ดาวเคราะห์ (Planet)</u> คือ บริวารขนาดใหญ่ของดวงอาทิตย์ 8 ดวง เรียงลำดับจากใกล้ไปไกล ได้แก่ ดาวพุธ ดาวศุกร์ โลก ดาวอังคาร ดาวพฤหัสบดี ดาวเสาร์ ดาวยูเรนัส และดาวเนปจูน ดาวเคราะห์ทั้งแปดโคจรรอบดวงอาทิตย์ โดยมีระนาบใกล้เคียงกับระนาบสุริยวิถี ไม่มีแสงสว่างในตัวเอง แต่สะท้อนแสงอาทิตย์ส่องเข้าไปตาเรา</b></font></p></CENTER>
  165. <CENTER><IMG SRC="http://f.ptcdn.info/084/026/000/1417348793-spin-o.jpg" VSPACE=20></CENTER>
  166.  
  167. <CENTER><p><font size = "5"><b><u>ดาวพุธ Mercury</u> เป็นดาวเคราะห์ที่อยู่ใกล้ดวงอาทิตย์มากที่สุด และเป็นดาวเคราะห์ที่เล็กที่สุดในระบบสุริยะ ใช้เวลาโคจรรอบดวงอาทิตย์ 87.969 วัน ดาวพุธมักปรากฏใกล้ หรืออยู่ภายใต้แสงจ้าของดวงอาทิตย์ทำให้สังเกตเห็นได้ยาก ดาวพุธมีสภาพพื้นผิวขรุขระเนื่องจากการพุ่งชนของอุกกาบาต
  168. ไม่มีดวงจันทร์เป็นบริวารและไม่มีแรงโน้มถ่วงมากพอที่จะสร้างชั้นบรรยากาศ ดาวพุธมีแกนกลางเป็นเหล็กขนาดใหญ่ทำให้เกิดสนามแม่เหล็กความเข้มประมาณ 1 เปอร์เซ็นต์ของสนามแม่เหล็กโลกล้อมรอบดาวพุธไว้</b></font></p></CENTER>
  169. <CENTER><IMG SRC="http://www.seasky.org/solar-system/assets/images/ganymede02_sk12.jpg" VSPACE=20></CENTER>
  170.  
  171. <CENTER><p><font size = "5"><b><u>ดาวศุกร์ Venus</u> เป็นดาวเคราะห์ที่อยู่ห่างจากดวงอาทิตย์เป็นลำดับที่ 2 (ฉบับแก้ไข ลำดับที่ 4 และ ดาวศุกร์มีเส้นผ่านศูนย์กลางเป็น 3 เท่าของดวงจันทร์ และ มีขนาดใหญ่กว่าดาวพุธและดาวอังคาร 2
  172.  เท่าตัวชื่อละตินของดาวศุกร์ (Venus) มาจากเทพีแห่งความรักของโรมัน ดาวศุกร์เป็นดาวเคราะห์หิน มีขนาดใกล้เคียงกับโลก บางครั้งเรียกว่า "น้องสาว" ของโลก แม้ว่าวงโคจรของดาวเคราะห์ทุกดวงจะเป็นวงรี วงโคจรของดาวศุกร์จัดว่าเกือบเป็นวงกลม มีความเยื้องศูนย์กลางน้อยที่สุด</b></font></p></CENTER>
  173. <CENTER><IMG SRC="http://www.atom.rmutphysics.com/charud/specialnews/2/astronomy1/mars/solar-system/solar/venus.jpg" VSPACE=20></CENTER>
  174.  
  175.  
  176. <CENTER><p><font size = "5"><b><u>โลก the World</u> เป็นดาวเคราะห์ลำดับที่สามจากดวงอาทิตย์ เป็นดาวเคราะห์ที่มีความหนาแน่นมากที่สุดในระบบสุริยะ มีขนาดใหญ่ที่สุดในบรรดาดาวเคราะห์หินทั้งสี่ดวงของระบบสุริยะ
  177.  และเป็นวัตถุทางดาราศาสตร์เพียงหนึ่งเดียวที่ทราบว่ามีสิ่งมีชีวิต</b></font></p></CENTER>
  178. <CENTER><IMG SRC="https://s-media-cache-ak0.pinimg.com/originals/01/30/69/0130690644afc465e7a89df0680f34c6.jpg" VSPACE=20></CENTER>
  179.  
  180. <CENTER><p><font size = "5"><b><u>ดาวอังคาร Mars</u> เป็นดาวเคราะห์ลำดับที่สี่จากดวงอาทิตย์ เป็นดาวเคราะห์เล็กที่สุดอันดับที่สองในระบบสุริยะรองจากดาวพุธ ในภาษาอังกฤษ
  181. ได้ชื่อตามเทพเจ้าแห่งสงครามของโรมัน มักได้รับขนานนาม "ดาวแดง”ดาวอังคารมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณครึ่งหนึ่งของโลก และมีพื้นที่ผิวน้อยกว่าพื้นที่ผิวดินทั้งหมดของโลกรวมกันเพียงเล็กน้อย</b></font></p></CENTER>
  182. <CENTER><IMG SRC="http://pe1.isanook.com/ns/0/rp/r/w257/ya0xa0m1w0/aHR0cDovL3BlMS5pc2Fub29rLmNvbS9ucy8wL3VkLzMxMS8xNTU1NTYwL25ld3MwNS0xLmpwZw==.jpg" VSPACE=20></CENTER>
  183.  
  184. <CENTER><p><font size = "5"><b><u>ดาวพฤหัสบดี Jupiter</u>เป็นดาวเคราะห์ที่อยู่ห่างจากดวงอาทิตย์เป็นลำดับที่ 5 และเป็นดาวเคราะห์ที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในระบบสุริยะ และมีบริวารมากที่สุดในระบบสุริยะ ดาวพฤหัสบดีมีมวลสูงกว่ามวลของดาวเคราะห์อื่นรวมกันราว 2.5 เท่า ทำให้ศูนย์ระบบมวลระหว่างดาวพฤหัสบดีกับดวงอาทิตย์ อยู่เหนือผิวดวงอาทิตย์
  185.  ดาวพฤหัสบดีหนักว่าโลก 318 เท่า เส้นผ่านศูนย์กลางยาวกว่าโลก 11 เท่า และมีปริมาตรคิดเป็น 1,300 เท่าของโลก เชื่อกันว่าหากดาวพฤหัสบดีมีมวลมากกว่านี้สัก 60-70 เท่า อาจเพียงพอที่จะให้เกิดปฏิกิริยานิวเคลียร์จนกลายเป็นดาวฤกษ์ได้</b></font></p></CENTER>
  186. <CENTER><IMG SRC="https://kunmiw125.files.wordpress.com/2011/01/e0b89ee0b8b1e0b894.jpg" VSPACE=20></CENTER>
  187.  
  188. <CENTER><p><font size = "5"><b><u>ดาวเสาร์ Saturn</u>เป็นดาวเคราะห์ดวงที่ 6 จากดวงอาทิตย์ ถัดจากดาวพฤหัสบดี ดาวเสาร์เป็นดาวแก๊สยักษ์ที่มีรัศมีเฉลี่ยมากกว่าโลกประมาณเก้าเท่า แม้ว่าจะมีความหนาแน่นเป็นหนึ่งในแปดของโลก แต่ปริมาตรของมันมีมากกว่าโลกถึง 95 เท่า ดาวเสาร์ตั้งชื่อตามเทพโรมันแห่งการเกษตร
  189. </b></font></p></CENTER>
  190. <CENTER><IMG SRC="http://mythland.org/v3/attachments/month_0906/0906132027a8461a7bf5834884.jpg" VSPACE=20></CENTER>
  191.  
  192. <CENTER><p><font size = "5"><b><u>ดาวยูเรนัส (หรือ มฤตยู)</u>เป็นดาวเคราะห์ที่อยู่ห่างจากดวงอาทิตย์เป็นลำดับที่ 7ในระบบสุริยะ จัดเป็นดาวเคราะห์แก๊ส มีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 3 วงแหวนของดาวยูเรนัสมีความมืดมาก ผิดกับวงแหวนที่สว่างของดาวเสาร์ ถ้าไม่มองด้วยกล้องโทรทรรศน์ก็จะมองไม่เห็น</b></font></p></CENTER>
  193. <CENTER><IMG SRC="https://wongsakol.files.wordpress.com/2011/11/uranus-planet1.jpg" VSPACE=20></CENTER>
  194.  
  195. <CENTER><p><font size = "5"><b><u>ดาวเนปจูน Neptune</u>หรือชื่อไทยว่า ดาวเกตุ คือดาวเคราะห์ในระบบสุริยะลำดับสุดท้ายที่อยู่ห่างจากดวงอาทิตย์ (ขึ้นอยู่กับการโคจรของดาวพลูโต ซึ่งบางครั้งจะเข้ามาอยู่ใกล้ดวงอาทิตย์มากกว่า แต่ปัจจุบันดาวพลูโตเป็นดาวเคราะห์แคระแล้ว)
  196.  ตัวดาวมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางใหญ่เป็นอันดับที่ 4 รองจากดาวพฤหัสบดี ดาวเสาร์ ดาวยูเรนัส และมีมวลเป็นลำดับที่ 3 รองจากดาวพฤหัสและดาวเสาร์</b></font></p></CENTER>
  197. <CENTER><IMG SRC="https://upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/thumb/0/06/Neptune.jpg/200px-Neptune.jpg" VSPACE=20></CENTER>
  198.  
  199.  
  200. <CENTER><p><font size = "5"><b><u>ดาวเคราะห์แคระ (Dwarf Planets)</u> วัตถุขนาดเล็กที่มีรูปร่างคล้ายทรงกลม แต่มีวงโคจรเป็นรูปรี    ซ้อนทับกับดาวเคราะห์ดวงอื่น และไม่อยู่ในระนาบของสุริยะวิถีซึ่งได้แก่ ซีรีส พัลลาส พลูโต    และดาวที่เพิ่งค้นพบใหม่ เช่น อีริส เซ็ดนา วารูนา  เป็นต้น</b></font></p></CENTER>
  201. <CENTER><p><font size = "5"><b><u>เทห์วัตถุขนาดเล็กในระบบสุริยะ (Small Solar-System Bodies)</u> หมายถึง วัตถุอื่นๆ นอกเหนือจากที่กล่าวไปแล้ว
  202.        จากมติที่กำหนดนิยามใหม่ของดาวเคราะห์ ส่งผลให้ดาวพลูโตถูกปลดออกจากการเป็นดาวเคราะห์ในระบบสุริยะ เนื่องจากดาวพลูโตไม่สามารถควบคุมสิ่งต่างๆที่เคลื่อนมาใกล้วงโคจรได้  (hasn’t "cleared the neighbourhood" around its orbit) ส่งผลให้พลูโตและอีรีส (2003 UB313) ซึ่งเคยนับเป็นดาวเคราะห์ดวงที่ 9 และ 10 ถูกปลด เหลือดาวเคราะห์เพียง 8 ดวง</b></font></p></CENTER>
  203.  
  204. <CENTER><p><font size = "5"><b><u>ดาวเคราะห์น้อย (Asteroids)</u> คือวัตถุที่ไม่สามารถรวมตัวกันเป็นดาวเคราะห์ได้ เนื่องจากถูกรบกวนจากแรงโน้มถ่วงของดาวเคราะห์ขนาดใหญ่ ส่วนใหญ่มีองค์ประกอบหลักเป็นหิน แต่บางดวงมีโลหะปนอยู่ ดาวเคราะห์น้อยส่วนใหญ่อยู่ที่ "แถบดาวเคราะห์น้อย" (Asteroid belt)
  205. ซึ่งอยู่ระหว่างวงโคจรของดาวอังคารและดาวพฤหัสบดี  ดาวเคราะห์น้อยมีรูปทรงเหมือนอุกกาบาต เนื่องจากมวลน้อยจึงมีแรงโน้มถ่วงน้อยไม่สามารถยุบรวมเนื้อดาวให้มีรูปร่างทรงกลม วงโคจรของดาวเคราะห์น้อยมีความรีมากกว่าวงโคจรของดาวเคราะห์ นักดาราศาสตร์จึงเปรียบว่า ดาวเคราะห์น้อยเป็นเสมือนฟอสซิลของระบบสุริยะ</b></font></p></CENTER>
  206.  
  207. <CENTER><p><font size = "5"><b><u>ดวงจันทร์บริวาร (Moons หรือ Satellites)</u> หมายถึง ดาวที่เป็นบริวารโคจรรอบดาวเคราะห์อีกที่หนึ่ง มิได้โคจรรอบดวงอาทิตย์โดยตรง  โลกมีบริวารชื่อ ดวงจันทร์ (The Moon) โคจรล้อมรอบ  ขณะที่ดาวเคราะห์ดวงอื่นก็มีดวงจันทร์บริวารโคจรล้อมรอบเช่นกัน ยกตัวอย่าง ดาวพฤหัสบดีมีดวงจันทร์ขนาดใหญ่ 4 ดวง
  208. (Galilean moons) ชื่อ ไอโอ (Io), ยูโรปา (Europa), กันนีมีด (Ganymede) และคัลลิสโต (Callisto)  ดาวเสาร์มีดวงจันทร์บริวารขนาดใหญ่ชื่อ ไททัน (Titan)</b></font></p></CENTER>
  209.  
  210. <CENTER><p><font size = "5"><b><u>อุกกาบาต Meteorite</u> คือ วัตถุจำพวกดาวเคราะห์น้อยที่มีขนาดเล็กกว่า 1 กิโลเมตร โดยตกลงแล้วยังเผาไหม้ไม่หมด แต่หากไหม้หมดเรียกว่า  "ดาวตก" หรือ "ผีพุ่งใต้" (Meteor หรือ Shooting star) หากยังไม่ถูกดึงเข้ามาตกสู่โลก คือลอยอยู่ในอวกาศ  เรียกว่า "สะเก็ดดาว" (Meteoroids)</b></font></p></CENTER>
  211.  
  212.  
  213. <CENTER><p><font size = "5"><b><u>ดาวหางComets</u> เป็นวัตถุขนาดเล็กเช่นเดียวกับดาวเคราะห์น้อย    แต่มีวงโคจรรอบดวงอาทิตย์เป็นวงยาวรีมาก  มีองค์ประกอบส่วนใหญ่เป็นก๊าซในสถานะของแข็ง    เมื่อดาวหางเคลื่อนที่เข้าหาดวงอาทิตย์ ความร้อนจะให้มวลของมันระเหิดกลายเป็นก๊าซ    ลมสุริยะเป่าให้ก๊าซเล่านั้นพุ่งออกไปในทิศทางตรงข้ามกับดวงอาทิตย์ กลายเป็นหาง</b></font></p></CENTER>
  214.  
  215. <HEAD>
  216. <TITLE>ตัวอย่างการสร้างตาราง</TITLE>
  217.  
  218. </HEAD>
  219. <BODY>
  220. <script language="JavaScript">
  221.  
  222. var numQues = 12;
  223. var numChoi = 4;
  224. var answers = new Array(12);
  225.  
  226. answers[0] = "1";
  227. answers[1] = "3";
  228. answers[2] = "4";
  229. answers[3] = "1";
  230. answers[4] = "2";
  231. answers[5] = "1";
  232. answers[6] = "1";
  233. answers[7] = "2";
  234. answers[8] = "1";
  235. answers[9] = "2";
  236. answers[10] = "2";
  237. answers[11] = "1";
  238. answers[12] = "3";
  239.  
  240.  
  241. // Do not change anything below here ...
  242. function getScore(form) {
  243.   var score = 0;
  244.   var currElt;
  245.   var currSelection;
  246.   for (i=0; i<numQues; i++) {
  247.    currElt = i*numChoi;
  248.    for (j=0; j<numChoi; j++) {
  249.      currSelection = form.elements[currElt + j];
  250.      if (currSelection.checked) {
  251.        if (currSelection.value == answers[i]) {
  252.          score++;
  253.          break;
  254.        }
  255.      }
  256.    }
  257.  }
  258.  score = Math.round(score/numQues*100);
  259.  form.percentage.value = score + "%";
  260.  var correctAnswers = "";
  261.  for (i=1; i<=numQues; i++) {
  262.    correctAnswers += i + ". " + answers[i-1] + "\r\n";
  263.  }
  264.  form.solutions.value = correctAnswers;
  265. }
  266. </script>
  267. <TABLE BORDER=4 ALIGN=CENTER WIDTH="80%" HEIGHT="50%" BGCOLOR="#FAF0E6">
  268.             <CAPTION><h2 style="background-color:#EEE8AA"><b><u> ตาราง ข้อมูลทางกายภาพของดวงดาวในระบบสุริยะ </u></b></h2></CAPTION>
  269.             <TR>
  270.                      <TH> ชื่อดาว </TH>
  271.              <TH> ประเภทของดาว</TH>
  272.                      <TH> ลักษณะทางกายภาพ </TH>
  273.                      <TH> จำนวนดาวบริวาร</TH>
  274.             </TR>
  275.             <tr>
  276.                      <td><CENTER><IMG SRC="https://upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/thumb/b/b4/The_Sun_by_the_Atmospheric_Imaging_Assembly_of_NASA's_Solar_Dynamics_Observatory_-_20100819.jpg/270px-The_Sun_by_the_Atmospheric_Imaging_Assembly_of_NASA's_Solar_Dynamics_Observatory_-_20100819.jpg" VSPACE=20></CENTER>
  277.             <center> ดวงอาทิตย์ </center></td>
  278.                      <td><center>ดาวฤกษ์ </td>
  279.                      <td><center>- มีมวลร้อยละ 99 ของระบบสุริยะ</center>
  280.                          <center>- องค์ประกอบหลักเป็นไฮโดรเจน</center>
  281.                          <center> - อยู่ในสถานะพลาสมา</center>
  282.                      <td><center>-</center></td>
  283.                      </td>
  284.  
  285.              </tr>
  286.  
  287.              <tr>
  288.                      <td><CENTER><IMG SRC="http://www.seasky.org/solar-system/assets/images/ganymede02_sk12.jpg" VSPACE=20></CENTER>
  289.              <center> ดาวพุธ </center></td>
  290.              <td><center> -ดาวเคราะห์</center> </td>
  291.                      <td><center> -ดาวเคราะห์ที่เล็กที่สุด</center>
  292.                <center>  -สภาพพื้นผิวขรุขระ</center>
  293.                <center>  -แกนกลางเป็นเหล็ก</center>
  294.              </td>
  295.                      <td><center> - </center></td>
  296.              </tr>
  297.               <tr>
  298.                      <td><CENTER><IMG SRC="http://www.atom.rmutphysics.com/charud/specialnews/2/astronomy1/mars/solar-system/solar/venus.jpg" VSPACE=20></CENTER>
  299.              <center> ดาวศุกร์</center></td>
  300.                      <td><center>- ดาวเคราะห์ </center></td>
  301.                      <td><center> -อุณหภูมิบนดาวศุกร์สูงมาก ประมาณ 500 องศาเซลเซียส</center>
  302.                   <center>-ขนาดใกล้เคียงกับโลก บางครั้งเรียกว่า "น้องสาว" ของโลก</center>
  303.                   <center>-หมุนไปในทิศตามเข็มนาฬิกา</center>
  304.         </td>
  305.                      <td><center> - </center></td>
  306.              </tr>
  307.         <tr>
  308.                      <td><CENTER><IMG SRC="http://www.rungnapa-astro.com/rose-doc/planets_files/image011.jpg" VSPACE=20></CENTER>
  309.             <center> ดาวโลก</center> </td>
  310.             <td><center>- ดาวเคราะห์ </center></td>
  311.             <td>
  312.             <center>- มีความหนาแน่นมากที่สุดในระบบสุริยะ</center>
  313.             <center>- มีสิ่งมีชีวิต</center>
  314.             <center>- มีน้ำและบรรยากาศ</center>
  315.             </td>
  316.             <td><center> มี1 ดวง</center>
  317.                 <center> - ดวงจันทร์</center>
  318.         </td>
  319.              </tr>
  320.         <tr>
  321.                      <td><CENTER><IMG SRC="http://pe1.isanook.com/ns/0/rp/r/w257/ya0xa0m1w0/aHR0cDovL3BlMS5pc2Fub29rLmNvbS9ucy8wL3VkLzMxMS8xNTU1NTYwL25ld3MwNS0xLmpwZw==.jpg" VSPACE=20></CENTER>
  322.             <center> ดาวอังคาร</center></td>
  323.              <td> <center>- ดาวเคราะห์</center> </td>
  324.             <td>
  325.                 <center>-เล็กที่สุดอันดับที่สอง</center>
  326.                 <center>-มีบรรยากาศเบาบาง</center>
  327.                 <center>-เป็นดาวเคราะห์หิน</center>
  328.  
  329.         </td>
  330.             <td><center> มี 2 ดวง</center>
  331.                 <center>-โฟบอส</center>
  332.                 <center>- ดีมอส</center>
  333.     </td>
  334.              </tr>
  335.         <tr>
  336.                      <td><CENTER><IMG SRC="https://kunmiw125.files.wordpress.com/2011/01/e0b89ee0b8b1e0b894.jpg" VSPACE=20></CENTER>
  337.             <center>ดาวพฤหัสบดี </center></td>
  338.             <td><center>-ดาวเคราะห์แก๊ส</center> </td>
  339.             <td><center>-มีขนาดใหญ่ที่สุดในระบบสุริยะ</center>
  340.                      <center>-มีบริวารมากที่สุดในระบบสุริยะ</center>
  341.             </td>
  342.             <td> <center>มี 63 ดวง ขนาดใหญ่ 4 ดวง คือ</center>
  343.                 <center>- ไอโอ</center>
  344.                 <center>- ยูโรปา</center>
  345.                 <center>- แกนีมีด</center>
  346.                 <center>- คัลลิสโต</center>
  347.             </td>
  348.              </tr>
  349.         <tr>
  350.                      <td><CENTER><IMG SRC="http://mythland.org/v3/attachments/month_0906/0906132027a8461a7bf5834884.jpg" VSPACE=20></CENTER>
  351.             <center>ดาวเสาร์ </center></td>
  352.             <td><center>- ดาวเคราะห์แก๊ส</center></td>
  353.             <td>
  354.             <center>- ดาวเสาร์มีรูปร่างป่องออกตามแนวเส้นศูนย์สูตรมีความหนาแน่นเฉลี่ยน้อยกว่าน้ำ</center>
  355.             <center>-มีวงแหวนประกอบไปด้วย เศษหินและน้ำแข็งขนาดเล็ก</center>
  356.             </td>
  357.             <td><center> มี 60 ดวง </center></td>
  358.              </tr>
  359.         <tr>
  360.                      <td><CENTER><IMG SRC="http://www.lampangcity.go.th/knowledge/imgs/01/061103A_03.jpg" VSPACE=20></CENTER>
  361.             <center>ดาวยูเรนัส</center></td>
  362.             <td><center>- ดาวเคราะห์แก๊ส</center></td>
  363.             <td><center>- วงแหวนของดาวยูเรนัสมีความมืดมาก</center>
  364.             <center>- บรรยากาศชั้นนอก ประกอบด้วยไฮโดรเจน และฮีเลียม</center>
  365.             <center>-มีลักษณะเป็นสีเขียว</center>
  366.             <center>-หมุนไปในทิศตามเข็มนาฬิกา</center>
  367.             </td>
  368.             <td> <center>มี 27 ดวง  5 ดวงหลัก คือ</center>
  369.             <center>- มิแรนดา</center>
  370.             <center>- แอเรียล</center>
  371.             <center>- อัมเบรียล</center>
  372.             <center>- ทิทาเนีย</center>
  373.             <center>- โอเบอรอน</center>
  374.             </td>
  375.              </tr>
  376.         <tr>
  377.                      <td><CENTER><IMG SRC="https://upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/thumb/0/06/Neptune.jpg/200px-Neptune.jpg" VSPACE=20></CENTER>
  378.             <center>ดาวเนปจูน</center> </td>
  379.             <td><center>- ดาวเคราะห์</center></td>
  380.             <td><center>-ดาวเนปจูนมีสีน้ำเงิน</center>
  381.             <center>-บรรยากาศผิวนอกเป็น ไฮโดรเจน ฮีเลียม และมีเทน</center>
  382.             <center>-แกนกลางภายในของดาวเนปจูน ประกอบด้วยหินและก๊าซร้อน</center>
  383.             </td>
  384.             <td><center> -ดาวเนปจูนมีดวงจันทร์บริวาร 8 หรือ 14 ดวง </center></td>
  385.              </tr>
  386.  
  387. </TR>
  388. </TABLE>
  389. </BODY>
  390. </p>
  391. </body>
  392. </html>
Advertisement
Add Comment
Please, Sign In to add comment
Advertisement